ในรอบการทำโจทย์ล่าสุดของ TOI-Zero
เด็กๆ ส่งคำตอบเข้าระบบทั้งหมดมากกว่า 369,000 ครั้ง 

แล้วถ้าถามว่า...
“มีนักเรียนกี่คนที่น่าจะผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ?”
เราประเมินโดยใช้เกณฑ์:
- เรียงโจทย์ตามอัตราการผ่าน จากมากไปน้อย
- เลือกโจทย์ อย่างน้อย 40 ข้อ
- และในนั้นมี A2 หรือ A3 รวมกันอย่างน้อย 20 ข้อ

และมีนักเรียน 2,857 คน ที่สามารถผ่านโจทย์ข้อนี้ได้

(ตัวเลขสุดท้ายจะได้รับการยืนยันจากระบบ Grader ภายหลัง)

- แกน X: จำนวนผู้ส่ง
- แกน Y: จำนวนผู้ผ่าน
A1,
A2,
A3
- ขนาดของจุด: วัดความ “ผิดปกติ” ของอัตราการผ่าน (ด้วย z-score ของอัตราการผ่านในกลุ่มเดียวกัน)
จุดดาว: โจทย์ที่ง่ายหรือยาก “ผิดปกติ” อย่างมีนัยสำคัญ

→ A1 ง่ายกว่าชัดเจน
→ A3 แม้มีคนส่งมาก แต่ผ่านน้อย → เป็นตัวกรองที่เข้มขึ้น

- A1: อัตราผ่านเฉลี่ย ≈ 96.1%
- A2: ≈ 84.2%
- A3: ≈ 80.2%
p-value ≈ 0.000012
→ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

**
- A1-030 อัตราผ่าน=89.3% (ยากผิดปกติใน A1)
- A1-025 อัตราผ่าน=85.4% (ยากมากใน A1)
- A2-001 อัตราผ่าน=46.8% (ยากผิดปกติใน A2)
- A2-021 อัตราผ่าน=38.6% (ยากมากใน A2)
- A3-023 อัตราผ่าน=28.9% (ยากมากผิดปกติใน A3)

- ข้อสอบระดับ A1 อาจ “ง่ายเกินไป” สำหรับบางกลุ่ม
- A2 และ A3 เริ่มคัดกรองได้ชัดเจน แต่บางข้ออาจยากเกินไป
- การออกแบบข้อสอบควรพิจารณาสถิติเพื่อความสมดุลที่เหมาะสม

และพัฒนาเด็กไทยให้แข็งแรงด้านการคิดอย่างเป็นระบบ


- ทีม ม.บูรพา ที่ดูแลระบบ Grader อย่างเข้มแข็ง
- อาสาสมัครผู้ช่วยตอบคำถามให้เด็กๆ อย่างใจดี
- ผู้ปกครองที่ช่วยแนะนำทิศทางที่ถูกต้องให้ลูกหลาน
- อินฟลูเอนเซอร์และติวเตอร์ ที่เข้าใจและช่วยประชาสัมพันธ์ TOI-Zero อย่างสร้างสรรค์
ระบบ TOI-National Grader ยังเปิดใช้งานต่อไป
โดยมหาวิทยาลัยบูรพาจะเป็นผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง
หวังว่าจะมีนักเรียนรุ่นใหม่ๆ เข้ามาทำโจทย์กันเรื่อยๆ
โดยมหาวิทยาลัยบูรพาจะเป็นผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง
หวังว่าจะมีนักเรียนรุ่นใหม่ๆ เข้ามาทำโจทย์กันเรื่อยๆ


เราจะมีโจทย์ดีๆ เพิ่มขึ้นแน่นอนครับ

และ เรายังต้องแข่งขันกับชาวโลก